96
1922

วัสดุกันกระแทกและยืดอายุของผลไม้จากคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสของผักตบชวา

CMC bumper gel pad

การมีขยายพันธุ์ของผักตบชวาบริเวณแหล่งน้ำสร้างปัญหาให้กัชาวบ้านและชุมชนริมแม่น้ำปราณบุรี แต่ผักตบชวาเป็นพืชที่มีประโยชน์ในทุกส่วนประกอบ และชุมชนปราณบุรีเป็นชุมชนที่มีอาชีพเกษตรกรรม ปลูกผลไม้ประเภทมะม่วงและกล้วยจำนวนมาก ซึ่งผลไม้สองชนิดนี้สุกอย่ารวดเร็วจึงเกิดปัญหาการส่งออกผลไม้ในชุมชน นวัตกรรมนี้ถูกสร้างขึ้นมาจากการสกัดคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส (CMC)ในผักตบชวาแล้วนำมาสังเคราะห์เป็นวัสดุกันกระแทกที่มีคุณสมบัติช่วยยืดอายุของผลไม้ ด้วยกระบวนการสกัดเซลลูโลส จากนั้นนำมาเปลี่ยนให้เป็นคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสซึ่งเป็นสารเคลือบผลไม้ที่รับประทานได้ ล้างออกง่าย จากนั้นนำมาขึ้นรูปเป็นแผ่นเจลกันกระแทกที่มีความหนาเหมาะสมสามารถรองรับแรงกระแทกขณะขนส่ง มีรูปร่างขนาดเท่ากับกล่องผลไม้ และสามารถยืดหยุ่นได้เมื่อใช้กับผลไม้ต่างชนิด เป็นนวัตกรรมที่มีประโยชน์ในการช่วยยืดอายุของผลไม้และรองรับแรงกระแทกเวลาขนส่ง เนื่องจากเป็นวัสดุจากธรรมชาติทำให้ไม่มีผลกระทบในด้านลบต่อสิ่งแวดล้อม มีความร่วมมือจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการปราณบุรีและเกษตรกรในพื้นที่

นางสาว จุฬารัตน์ วิวัฒนพงศ์เพชร

นางสาว สุนิษา จันทร์สรณ์

นาย ชนกันต์ งามสม

นาย ประกาศิต ไทยบรรหาญ

นางสาว ปรวรรณ อ่ำช่วย

Please Rotate Screen

เว็บไซต์นี้ ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น

เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่