6
246

การผลิตแอลฟาและเบตานาโนไคโตซาน และประยุกต์ใช้ต้านจุลชีพในการยืดอายุการเก็บกล้วยหอมทองในเชิงพาณิชย์

Synthesis of Nanochitosan from α-Chitosan and β-Chitosan for Applications and Shelf-Life Extension of Banana Fruit

การนำของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมอาหารทะเลมาเพิ่มมูลค่าเป็น ไคโตซานและนาโนไคโตซาน โดยแปรผันความเข้มข้นของกรดเมทาคริลิก เพื่อให้ได้การสร้างอนุภาคนาโนไคซานที่เหมาะสม จากนั้นสมบัติของไคซานและนาโนไคซานจะทำการทดสอบด้วย TEM, XRD, FTIR และ DLS เป็นต้น เมื่อได้นาโนไคซานที่เหมาะสมแล้วจะนำมาทดสอบฤทธิ์ในการต้านจุลชีพ ผลงานวิจัยนี้พบว่าการใช้อนุภาคนาโนไคโตซานสามารถยืดอายุการเก็บรักษาและรักษาคุณภาพของผลกล้วยได้ อีกทั้งผลงานวิจัยนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นผลิตภัณฑ์ให้มีศักยภาพสู่เชิงพาณิชย์ ทั้งด้านการแพทย์ เภสัชกรรม อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง และอุตสาหกรรมอาหารได้

ศ.ดร. พรชัย ราชตนะพันธุ์

อาจารย์ ดร. ศรินทร์ทิพย์ ธนัคฆเศรณี

รศ.ดร. วินิตา บุณโยดม

รศ.ดร. กิตติศักดิ์ จันทนสกุลวงศ์

นางสาว ศศินา หินโม

กรุณาหมุนหน้าจอ

(ต้องเปิดฟังก์ชันหมุนหน้าจออัตโนมัติบนอุปกรณ์)

เว็บไซต์นี้ ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น

เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่